ชื่อทฤษฎี่ : ทฤษฎีสองปัจจัย (Two-factors Theory) หรือทฤษฎีการจูงใจของเฮิร์กเบิร์ก (Herzberg's Theory of Motivation)
หลักการและแนวคิด
Herzberg ศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานของบุคลกรในองค์การ
โดยศึกษาถึงทรรศนะคติของบุคคลที่มีต่อการทำงานเพื่อหาทางที่จะลดความไม่พอใจในการทำงาน
เพื่อที่จะทำให้คนงานมีความรู้สึกที่ดีในการที่จะพยายามเสริมสร้างผลผลิตของงานให้มากขึ้น
เขาพบว่าปัจจัยที่มีผลกระทบต่องานแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ
คือ
1. ปัจจัยจูงใจ (Motivates Factors) เป็นปัจจัยกระตุ้นให้คนทำงาน
โดยเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่ดีที่จะเกิดขึ้นกับพนักงาน
อันจะทำให้พนักงานมีความพึงพอใจเกี่ยวกับงานที่จะทำ
2. ปัจจัยอนามัย (Hygiene or Maintenance Factors)
เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่จะสร้างความไม่พอใจในการทำงานให้กับพนักงาน
ซึ่งจะเป็นตัวสกัดกั้นไม่ให้เกิดแรงจูงใจในการทำงานขึ้นได้
หรือเป็นข้อกำหนดเบื้องต้นที่จะป้องกันมิให้คนไม่พอใจในงานที่ทำอยู่
ปัจจัยจูงใจ
(Motivators)
1.
ความสำเร็จในชีวิต (Achievement)2. การเป็นที่ยอมรับของบุคคลทั่วไป (Recognition)
3. งานที่มีความรับผิดชอบ (Responsibility)
4. งานที่ทำแล้วมีโอกาสก้าวหน้า (Advancement)
5. ตำแหน่งงานที่ดี (Work Itself)
6. งานมีความสุข (Growth)
ปัจจัยอนามัย
(Hygiene)
1.
นโยบายและการบริหารที่ดี2. การควบคุมงาน
3. ความสัมพันธ์กับหน้าที่
4. เงื่อนไขการทำงานที่ดี
5. เงินเดือนดี
6. ความสัมพันธ์ฉันท์มิตร
7. การมีชีวิตส่วนตัวที่ดี
8. ความสัมพันธ์แวดล้อมอื่น ๆ
9. สถานะภาพของตนเองในงาน
10. ความมั่นคงปลอดภัย
การนำไปใช้
ตามทฤษฎีนี้ ปัจจัยทั้ง 2
จำพวกนี้ Herzberg เห็นว่า
"Motivatiors" เป็นสื่อที่น่าสนใจมากกว่า
เพราะเขามองเห็นในแง่ที่ว่า Motivatiors เปรียบเสมือนกับทฤษฎี
Y
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น