วันอังคารที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2555

Strategic Matrix

Framework Management Tool Box : ด้าน Planning 
 
เมทริกซ์ยุทธศาสตร์เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เข้าถึงได้ง่ายเพื่อแก้ปัญหานำไปใช้ในกรณีศึกษา Each case study has been deconstructed, filtering out important information on the main constraints and corresponding solutions of the business model. กรณีศึกษาแต่ละชิ้นส่วนได้รับการกรองออกข้อมูลที่สำคัญเกี่ยวกับข้อ จำกัด หลักและโซลูชั่นที่สอดคล้องกันของรูปแบบธุรกิจ
The strategy matrix can help entrepreneurs and analysts scan possible solutions to the constraints they face.                             เมทริกซ์กลยุทธ์สามารถช่วยให้ผู้ประกอบการและนักวิเคราะห์สแกนโซลูชั่นที่เป็นไปได้ที่จะ จำกัด พวกเขาเผชิญ It is crucial to note that successful inclusive business models typically combine several strategies to address several constraints. มันเป็นสิ่งสำคัญที่จะทราบว่ารูปแบบธุรกิจที่ประสบความสำเร็จมักจะรวมรวมหลายกลยุทธ์เพื่อที่อยู่ข้อ จำกัด หลายประการ To get from broad strategies to focused solutions one must not only identify each local constraint, but also understand its dynamics in the market. จะได้รับจากกลยุทธ์ในวงกว้างเพื่อแก้ปัญหาที่เน้นการอย่างใดอย่างหนึ่งต้องไม่เพียง แต่ระบุแต่ละข้อ จำกัด ในประเทศ แต่ยังทำความเข้าใจพลวัตในตลาด

The Strategy Matrix allows readers to learn about experiences from a certain case with an increasing level of detail, starting at the broad categories or constraints and solution approaches and ending in a full-length case study. เมทริกซ์กลยุทธ์ช่ว​​ยให้ผู้อ่านเพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับประสบการณ์จากกรณีที่มีบางระดับที่เพิ่มขึ้นของรายละเอียดเริ่มต้นที่ประเภทกว้างหรือข้อ จำกัด และแนวทางการแก้ปัญหาและสิ้นสุดในกรณีศึกษาความยาวเต็ม In this way, you can zoom in on the challenge or innovation that is most relevant to your specific situation. ด้วยวิธีนี้คุณสามารถซูมในความท้าทายหรือนวัตกรรมที่เป็นที่สุดที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์เฉพาะของคุณ

* แนวคิดเกี่ยวกับการกำหนดกลยุทธ์
การกำหนดกลยุทธ์ (Strategy formulation) เป็นกิจกรรมที่ต่อเนื่องจากการวิเคราะห์เชิง กลยุทธ์ ซึ่งเป็นรากฐานที่สำคัญต่อความสำเร็จในการดำเนินการเชิงกลยุทธ์ในแต่ละองค์การ ทาให้ผู้บริหารสามารถกำหนดเป้าหมายขององค์ การได้ ตลอดจนสามารถรู้ถึงทิศทางขององค์การในอนาคต โดยการนาข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ ที่ได้รับจากการวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ มาจัดทาเป็นกลยุทธ์ในระดับและรูปแบบต่างๆ รวมทั้งประเมินและคัดเลือกว่ากลยุทธ์ใดมีความเหมาะสมกับองค์การมากที่สุด ผลจากการวิเคราะห์เชิง กลยุทธ์และการกำหนดกลยุทธ์ที่เหมาะสมจะนาไปสู่การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning) การกำหนดกลยุทธ์จะเริ่มต้นจากการกำหนดจุดมุ่งหมายขององค์การ ได้แก่ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และวัตถุประสงค์

การกำหนดกลยุทธ์จึงมีความสำคัญมากต่อจุดหมายปลายทางในอนาคต การประมวลข้อมูลทั้งหมดจากการวิเคราะห์ส่วนประกอบ (Portfolio approach) โดยเฉพาะการวิเคราะห์ SWOT จะนำมากำหนดเป็นกลยุทธ์ในระดับองค์การโดยรวม (Corporate-level strategy) ซึ่งถือเป็นกลยุทธ์หลัก (Grand strategy) ที่ผู้บริหารระดับสูงจะเป็นผู้ตัดสินใจว่าควรนำกลยุทธ์ใดไปดาเนินการ โดยมีบรรทัดฐานในการตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ ดังนี้คือ
1) กลยุทธ์ต้องตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมภายนอก
2) กลยุทธ์ที่ดีต้องคำนึงถึงการรักษาสถานภาพ และความได้เปรียบในการแข่งขัน
3) กลยุทธ์แต่ละด้านต้องมีความสอดคล้องกัน
4) กลยุทธ์ที่ดีต้องคำนึงถึงความยืดหยุ่น
5) กลยุทธ์ต้องสอดคล้องกับพันธกิจและเป้าประสงค์
6) กลยุทธ์ที่ดีต้องมีความเป็นไปได้ในการดำเนินงาน

* เทคนิคที่ใช้ในการกำหนดกลยุทธ์ ดังนี้

1. เทคนิคที่ใช้ในการกำหนดกลยุทธ์ระดับองค์การ หลังจากได้วิเคราะห์ลักษณะโดยทั่วไปขององค์การแล้วและได้ผ่านกระบวนการวิเคราะห์ปัจจัยทั้งภายในและภายนอกในรูปของ SWOT analysis แล้ว มีเทคนิคที่นำมาใช้ประกอบการตัดสินใจเลือกกลยุทธ์ระดับองค์การดังนี้
1.1 เมททริกซ์ทาวซ์ (TOWS matrix)
1.2 เมททริกซ์ประเมินกลยุทธ์และตำแหน่ง (The strategic position and action evaluation matrix: SPACE matrix)
1.3 เมททริกซ์กลุ่มปฏิริยาบอสตัน (BCG matrix)
1.4 เมททริกซ์กลยุทธ์หลัก (The grand strategy matrix)

2. เทคนิคที่ใช้ในการกำหนดกลยุทธ์ระดับธุรกิจ การนำเทคนิคต่างๆ มาใช้ในการกำหนดกลยุทธ์ระดับธุรกิจนี้เน้นการนำปัจจัยทางธุรกิจมาพิจารณา ซึ่งประกอบด้วยเทคนิคต่างๆ ดังนี้
2.1 เมททริกซ์การเจริญเติบโตของส่วนแบ่งทางการตลาด (Growth-Share matrix)
2.2 เมททริกซ์ความดึงดูดทางอุตสาหกรรม-จุดแข็งของธุรกิจ (Industry attractiveness- business strength matrix)
2.3 เมททริกซ์วงจรชีวิตตลาด-จุดแข็งในการแข่งขัน (The market life cycle-competitive strength matrix)

3. เทคนิคที่ใช้ในการกำหนดกลยุทธ์ระดับปฏิบัติการ เป็นวิธีการที่ยึดหลักการสร้างคุณค่าของบริษัทและธุรกิจในสายตาลูกค้า (Customer value) ซึ่งค่านิยมพื้นฐานของลูกค้า มี 3 ประการ คือ ต้องการสินค้าหรือบริการที่ดีกว่า ถูกกว่า และรวดเร็วกว่า

* ความสำคัญของการจัดการเชิงกลยุทธ์ที่มีต่อการดำเนินงานดังนี้
1. ช่วยให้องค์กรมีกรอบและทิศทางที่ชัดเจน
2. ช่วยให้ผู้บริหารคิดอย่างเป็นระบบ
3. ช่วยสร้างความพร้อมให้องค์กร
4. ช่วยสร้างประสิทธิภาพในการแข่งขัน
5. ช่วยให้การทำงานเกิดความสอดคล้องในการปฏิบัติหน้าที่
6. ช่วยให้องค์กรมีมุมมองที่ครอบคลุม

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น